วันอาทิตย์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

การวางแผนการทำ 3D Animation


Planning your 3D Animation

เอาล่ะ… ถ้าเราจะพูดถึงจุดเริ่มต้นของการทำ 3D Animation แล้วไม่พูดถึงเรื่องการวางแผนก็จะกระไรอยู่ เพราะมันเป็นสิ่งสำคัญแรกสุดที่พวก Animator มือฉมังมักจะแนะนำกับนักเรียนของเขา: “วางแผนก่อนทำงานนะ” แต่ขนาดนี้แล้ว..

ขั้นตอนการวางแผนก็มักเป็นขั้นตอนที่นักเรียนละเลยมากที่สุด ทั้งๆ ที่จริงๆ  แล้วมันแทบจะเรียกได้ว่าเป็น “เครื่องมือพื้นฐานชิ้นสำคัญที่สุด” ในเหล่าเครื่องมือทั้งหลายที่คุณพึงจะมี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงสองสามปีแรกของการทำงานในวงการ 3D Animation คุณไม่ควรนั่งลงหน้าคอมพิวเตอร์และลงมือทำงานจนกว่าคุณจะรู้แน่ๆ แล้วว่าจะมี Pose อะไรบ้าง และเมื่อไหร่จะใช้ Pose ไหน และทำไมถึงเลือกใช้ Pose นั้น

ก่อนจะเริ่มลงมือทำงาน เป็นสิ่งสำคัญมากๆ ที่คุณควรจะศึกษาดู Reference* ซะก่อน แล้วลงมือวาด Thumbnails** หลังจากนั้นก็ตัดสินใจให้เรียบร้อยก่อนเรื่อง Timing และ Acting ว่าจะใช้ Pose ไหนเมื่อไหร่ จริงอยู่ว่า..ขั้นตอนนี้สำหรับบางคนฟังดูแล้วเหมือนเป็นการเพิ่มงานซะเปล่าๆ แต่เชื่อเถอะ…ว่าในระยะยาวแล้วมันจะประหยัดเวลาได้มาก และงานของคุณก็จะดูหนักแน่น ชัดเจน ลงตัวกว่าการทำงานโดยข้ามขั้นตอนการวางแผนนี้ไป
ผลงานของผมใน Shot ที่เจ๋งๆนั้นก็ล้วนเป็น shot ที่ผมทุ่มเทเวลามากที่สุดไปกับการวางแผนก่อนเริ่มงาน (มากกว่าเวลาที่ใช้ลงมือทำงานจริงๆซะอีก) ส่วน shot ไหนที่ผมรู้สึกว่าน่าจะทำได้ง่ายๆ แล้วก็คิดว่า… “แค่นี้เอง รู้อยู่แล้วว่าต้องทำยังไงมั่ง” แล้วก็นั่งลงมือทำเลย ปรากฏว่าผลงานของ shot เหล่านี้ไม่ได้ออกมาดีมากนัก มันก็แค่โอเค แต่ไม่ได้ดีที่สุด… ถ้าผมวางแผนซะหน่อยมันจะดีได้กว่านี้อีกมาก แล้วผมก็มักจะมานั่งเสียดายที่ผมพลาดโอกาสที่จะทำให้ shot เหล่านั้นกลายเป็น Shot ที่พิเศษไปแล้ว แต่อย่างน้อยมันก็ได้สอนให้ผู้รู้ถึงบทเรียนอันทรงคุณค่า…

วางแผนก่อน…เสมอ!!

ครั้งหน้ามาดูกันว่า จะวางแผน shot ของคุณยังไงดี!

* Reference สำหรับ Animator ในวงการ 3D Animation หมายถึง Clip Video ที่บันทึกการเคลื่อนที่ของสิ่งต่างๆ ในโลกจริง เพื่อใช้เป็นตัวอย่างอ้างอิงในการ Animate เช่น การเดินของสัตว์ 4 เท้า, การเลื้อยของงู, การกระพือปีกของหงษ์เมื่อจะร่อนลงผิวน้ำ หรือ ลักษณะการปลิวของการสะบัดผ้าคลุมไหล่ เป็นต้น

** Thumbnails หมายถึง ภาพวาดในกรอบขนาดเล็ก มักเป็นภาพ Sketch คร่าวๆ ของ Pose หลักๆ ที่จะเกิดขึ้นในแต่ละ scene

เว็บไซต์อ้างอิงhttp://theanimania.com/3d-animation-tips-and-tricks/planning-your-3d-animation/

คีย์ลัด shortcut keys ใน Adobe Illustrator CS6 for Win

คีย์ลัดบางตัวที่ต้องมีเงื่อนไขในการกด ข้าพเจ้าจะแทรกวิธีการใช้ต่อท้ายจากคำอธิบายให้นะครับ

Shortcut-คีย์ลัด คำสั่ง
Ctrl + N New "สร้าง" ไฟล์งานใหม่ ตัวอย่าง
Ctrl + O Open "เปิด" ไฟล์งานเดิม
F12 Revert (ย้อนกลับการทำงานไปก่อนที่จะเซฟ)
Ctrl + W Close "ปิด" ไฟล์งาน
Ctrl + S Save "บันทึก" ไฟล์งาน
Ctrl + Shft + S Save..As ..."บันทึก" ไฟล์งาน เป็นชื่อ หรือสกุลอื่น
Ctrl + Alt + S Save a Copy (บันทึกและคัดลอกไปที่....)
Ctrl + Shft + Alt + S Save for Web (บันทึกเป็นสกุลเว็บเช่น .JPG .GIF .NPG)
Ctrl +Alt +P Document Setup (ตั้งค่าไฟล์งาน)
Ctrl + P Print (สั่งพิม์)
Ctrl + Q Quit [Exit]  (ออกจากโปรแกรม)


Edit (แก้ไขการทำงาน)
Ctrl + Z Undo (ย้อนกลับการทำงาน)
Ctrl + Shft + Z Redo (ยกเลิกการย้อนกลับ)
Ctrl + X Cut (ดึงวัตถุออก) -->(คลิกที่วัตถุและกดคีย์)
Ctrl + C Copy (คัดลอกวัตถุ) -->(คลิกที่วัตถุและกดคีย์)
Ctrl + V Paste (วางวัตถุ - (สุ่มตำแหน่งที่วาง))
Ctrl + Shift + V Paste (วางวัตถุ - ทับที่เดิมข้างบน)
Ctrl + F Paste in Front (วางวัตถุทับตำแหน่งเดิมด้านบน)
Ctrl + B Paste in Back  (วางวัตถุทับตำแหน่งเดิมด้านล่าง)
ปุ่ม Delete Clear (ลบวัตถุทิ้ง) -->(คลิกที่วัตถุและกดปุ่ม)
Ctrl Shft Alt K Keyboard Shortcuts (ใช้ตั้งปุ่มคีย์ใหม่)

Ctrl + K General Preference (กำหนดค่าพื้นฐานต่างๆในโปรแกรม)


Object (เกี่ยวกับวัตถุ ชิ้นงาน)  
Ctrl + D Transform -> Transform Again (ใช้ซ้ำคำสั่ง ย้ายวัตถุที่ใช้ไปก่อนหน้า)-->(คลิกที่วัตถุและกดคีย์) ตัวอย่าง
Ctrl + Shift + M Transform -> Move  (ย้ายวัตถุไปที่ตำแหน่ง...) -->(คลิกที่วัตถุและกดคีย์)
Ctrl + Shift + Alt + D Transform -> Transform Each  (ย้ายและหมุนวัตถุไปที่ตำแนห่ง)-->(คลิกที่วัตถุและกดคีย์)
Ctrl +Shift +] Bring to Front (ย้ายวัตถุไปที่ ด้านหน้า สุด) -->(คลิกที่วัตถุและกดคีย์)  ตัวอย่าง
Ctrl + ] Bring Forward (ย้ายวัตถุไปที่ ด้านบน 1 ลำดับ) -->(คลิกที่วัตถุและกดคีย์)  ตัวอย่าง
Ctrl + [ Send Backward (ย้ายวัตถุไปที่ ด้านหลัง 1 ลำดับ)-->(คลิกที่วัตถุและกดคีย์)  ตัวอย่าง
Ctrl + Shift + [ Sent to Back (ย้ายวัตถุไปที่ ด้านหลัง สุด) -->(คลิกที่วัตถุและกดคีย์)  ตัวอย่าง
Ctrl + G Group (รวมวัตถุให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน) -->(คลิกเลือกวัตถุ "หลายๆชิ้น" และกดคีย์)
Ctrl + Shft + G Ungroup (ยกเลิกการรวมวัตถุให้เป็นกลุ่ม) -->(คลิกที่วัตถุและกดคีย์)
Ctrl + 2 Lock -> Selection (ล๊อควัตถุ ไม่ให้ถูกเคลื่อนย้าย หรือ แก้ไข) -->(คลิกที่วัตถุและกดคีย์)
Ctrl + Alt + 2 Unlock All  (ยกเลิกการล๊อควัตถุทุกชิ้นที่เป็นซับย่อยภายในเลเยอร์ ทุกเลเยอร์)
Ctrl + 3 Hide -> Selection  (ซ่อนวัตถุ) -->(คลิกที่วัตถุและกดคีย์)
Ctrl + Alt + 3 Show All (แสดงวัตถุทุกชิ้นที่ถูกซ่อน)
Ctrl + J Path -> Join (เชื่อมต่อเส้น Path ให้เป็นเส้นเดียวกัน) -->(เลือกที่ปลายเส้น ทั้ง 2 เส้น และกดคีย์)
Alt + Ctrl +  J Path -> Average  (จัดตำแหน่งจุดแองเคอร์)-->(คลิกเลือกจุดแองเคอร์ 2 ชิ้นไปและกดคีย์)
Alt  + Ctrl + B Blend -> Make (ทำการ Blend วัตถุ) -->(คลิกที่วัตถุและกดคีย์)
Alt + Ctrl + Shift + B Blend -> Release (ยกเลิกการ Blend วัตถุ)-->(คลิกที่วัตถุที่ทำการ Blend และกดคีย์)
Alt + Shift + Ctrl +  W Envelope Distort -> Make With Warp (ดัดวัตถุแบบคลื่น)-->(คลิกที่วัตถุและกดคีย์) ตัวอย่าง
Alt  +Ctrl  + M Envelope Distort -> Make with Mesh (ดัดวัตถุโดยใช้ตาข่าย)-->(คลิกที่วัตถุและกดคีย์)  ตัวอย่าง
Alt  +Ctrl  + C Envelope Distort -> Make with Top Object  (ดัดวัตถุให้อยู่ในรูปทรงที่กำหนด) )-->(คลิกเลือกวัตถุ 2 ชิ้นทับกันและกดคีย์)
Ctrl + Shift + P Envelope Distort -> Edit Contents (กดสลับระหว่างโหมดแก้ไข และโหมดปกติ ของวัตถุที่ทำการดัด) --> (คลิกที่วัตถุที่ทำการ ดัดด้วย Envelope Distort  ไว้)
Ctrl + 7 Clipping Mask -> Make  (ทำการบังวัตถุ) -->(คลิกเลือกวัตถุ 2 ชิ้นทับกันและกดคีย์)
Ctrl + Alt + 7 Compound Mask -> Release (ยกเลิกการบังวัตถุ)-->(คลิกเลือกวัตถุที่ถูกบังและกดคีย์)
Ctrl + 8 Compound Path -> Make ( ทำการทับซ้อนวัตถุ)  -->(คลิกเลือกวัตถุที่วางทับกัน 2 ชิ้นขึ้นไปและกดคีย์)
Alt + Shift + Ctrl +  8 Compound Path -> Release (ยกเลิกการทับซ้อนวัตถุ)


Type (การพิมพ์-ฟ้อน-ตัวอักษร)
Ctrl + Alt + Shift + M Font (เปิดพาแนล Character เพื่อปรับแต่ง Font)
Ctrl + Shft + O Create Outlines (แปลงตัวอักษรให้เป็นวัตถุ) ---> (คลิกที่ Text และกดคีย์) ตัวอย่าง


Select (การเลือกวัตถุ)
Ctrl + A Select All  (เลือกวัตถุทั้งหมด)
Ctrl + Shift + A Deselect All ("ยกเลิก" การเลือกวัตถุทั้งหมด)
Ctrl + 6 Reselect (สลับการเลือก ใช้คู่กับคำสั่ง Select > Inverse)
Ctrl + Alt +] Next Object Above (เปลี่ยนไปเลือกวัตถุที่อยู่ด้านบน 1 ลำดับ)
Ctrl + Alt + [ Next Object Below  (เปลี่ยนไปเลือกวัตถุที่อยู่ด้านล่าง 1 ลำดับ)


Effect
Shift +Ctrl + E Apply Last Effect  (ใช้คำสั่งเอฟเฟคซ้ำอีกครั้ง)  (มีการใช้คำสั่ง Effect กับวัตถุชิ้นอื่นไว้ก่อนแล้ว และต้องการใช้คำสั่งเดิม กับวัตถุชิ้นอีกชิ้น) (ค่าที่กำหนดในเอฟเฟค จะเหมือนตามต้นแบบทุกอย่าง) -->(คลิกที่วัตถุและกดคีย์)
Shift +Ctrl + Alt + E Last Effect  (ใช้คำสั่งเอฟเฟคซ้ำอีกครั้ง) (เหมือนกับอันแรก แต่เราสามารถปรับแต่งกำหนดค่าต่างๆในเอฟฟเคนั้นๆได้)


Edit การแก้ไขและมุมมองหน้าจอ
Ctrl + Y Outline/Preview (ดูมุมมองแบบลายเส้น)
Ctrl + Shift + Alt + Y Over Print Preview (มุมมองแบบพื้นขาว)
Ctrl + Alt + Y Pixel Preview (ดูมุมมองภาพความละเอียดแบบ Pixel)
Ctrl  + Zoom In (ขยายมุมมองออก)
Ctrl  - Zoom out (ย่อมุมมองเข้า)
Ctrl + 0 (เลขศูนย์) Fit in Window (กำหนดให้ขนาดของอาร์ตบอร์ด พอดีกับขนาดหน้าจอ)
Ctrl + 1 หรือ (ดับเบิ้ลคลิกที่ "Zoom tool") Actual Size (100%) (กำหนดมุมมองอาร์ตยอร์ดแสดงที่ขนาด 100%)
Ctrl + H Hide Edges (ซ่อน/ยกเลิกการซ่อน จุดแองเคอร์ทั้งหมด)
Ctrl + Shift + W Hide Template (ซ่อน /ยกเลิกการซ่อน Template )
Ctrl + R Show/Hide Rulers (เปิด / ปิด มุมมองแถบไม้บรรทัด)
Ctrl  +Shift + B Show/Hide Bounding Box (เปิด/ ปิด การซ๋อนกรอบสี่เหลี่ยมครอบวัตถุ (เวลาคลิกเลือกทั้งหมด))
Ctrl + Shift + D Show/Hide Transparency Grid (เปิด/ ปิด การใช้มุมมองแบบมองทะลุ)
Ctrl + ; Show/Hide Guides (เปิด / ปิด การซ่อนและแสดงเส้นไกด์ )
Ctrl + Alt + ; Guides  Lock (ล๊อค/ปลดล๊อค เส้นไกด์)
Ctrl + 5 Make Guides (เปลี่ยนกรอบวัตถุให้เป็นเส้นไกด์) ตัวอย่าง
Ctrl + Alt + 5 Release Guides (ยกเลิกคำสั่งที่ทำให้วัตถุเป็นเส้นไกด์)
Ctrl + U Smart Guides (เปิด / ปิด เส้นSmart Guides  คือ ที่เวลาเราลากเม้าส์ผ่านวัตถุชิ้นต่างๆ แล้วจะมีเส้นสีเขียวสดๆ โชว์แสดงโครงสร้างของวัตถุชิ้นนั้นๆน่ะค่ะ เราสามารถกำหนดคุณสมบัติของเส้น Smart Guides ได้โดยกดปุ่ม Ctrl+K )
Ctrl + '' Show/Hide Grid (เปิด / ปิด การซ่อนเส้น Grid คือ ตารางสี่เหลี่ยมช่วยในการวาดวัตถุให้ง่ายขึ้น เช่น ทำปุ่มไอคอนต่างๆ)
Ctrl + Shft + '' Snap to Grid [Pixel]  (เปิด / ปิด การกำหนดให้วัตถุที่วาด เกาะติดกับเส้น Grid อัติโนมัติ ไม่ว่าจะทำการย้าย หรือ คัดลอกและวาง)
Ctrl +Alt+ '' Snap to Point (เปิด/ปิด ตัวช่วยทำให้เคลื่อวัตถุเข้าหาจุดแองเคอร์ได้ง่ายขึ้น คำสั่งตัวนี้ไม่ค่อยมีประโยชน์เท่าไหร่( ถ้าเปิดคำสั่ง "Smart Guides " อยู่ด้วย ก็แทบไม่เห็นผลต่างระหว่างใช้กับไม่ใช้คำสั่ง)


Window คำสั่งเปิดพาแนลต่างๆ
Shft + F7 Show/Hide Align (เปิด/ปิดพาแนล "Align" (พาแนลสำหรับจัดเรียงวัตถุ) )
Shft F6 Show/Hide Appearance (เปิด/ปิด พาแนล  "Appearance" (พาแนลที่บันทึกการทำงานของวัตถุแต่ละชิ้น))
Ctrl + F11 Show/Hide Attributes (เปิด/ปิดพาแนล "Attributes")
F5 Show/Hide Brushes  (เปิด / ปิด พาแนล "Brush" (พาแนลหัวแปรง))
F6 Show/Hide Color (เปิด/ปิด พาแนล "Color" (พาแนลสำหรับเลือกสี)
Ctrl + F9   Show/Hide Gradient (เปิด/ปิด พาแนล "Gradient" ) ตัวอย่าง
Ctrl + F8 Show/Hide Info (เปิด/ปิดพาแนล "Info" เป็นพาแนลที่ใช้บอกรายละเอียดของวัตถุ เช่น พิกัดตำแหน่ง แกน X,Y และ ความกว้าง*ยาว)
F7 Show/Hide Layers  (เปิด/ปิด พาแนลเลเยอร์)
Shift + Ctrl+ F9 Show/Hide Pathfinder (เปิด / ปิด พาแนล "Pathfinder"  เป็นพาแนลที่ใช้ในการตัดเจาะรู และรวมวัตถุ )ตัวอย่าง
Ctrl + F10 Show/Hide Stroke (เปิด/ปิด พาแนล "Stroke" (พาแนลที่ใช้ปรับแต่งเส้น)) ตัวอย่าง
Shift + F5 Show/Hide Graphic Styles (เปิด/ปิด พาแนล "Graphic Styles " ) ตัวอย่าง
Shft + Ctrl + F11 Show/Hide Symbols (เปิด/ปิด พาแนล "Symbol" ) ตัวอย่าง
Shift + F8 Show/Hide Transform (เปิด/ปิด พาแนล "Transform" เป็นพาแนลที่ใช้เครื่องย้าย-หมุน วัตถุด้วยพิกัดแกนที่แน่นอน ) ตัวอย่าง
Ctrl + Shift + F10 Show/Hide Transparency (เปิด/ปิด พาแนล "Transparency "  เป็นพาแนลที่ใช้เปลี่ยน Blending Mode และลดค่าความเข้มให้กับวัตถุ)
Ctrl + T Show/Hide Character (เปิด/ปิด พาแนล "Character" เป็นพาแนลที่ใช้ กำหนดคุณสมับติและ เลือกประเภทตัวอักษร )
Ctrl + Alt + T Show/Hide Paragraph (เปิด/ปิด พาแนล "Paragraph" เป็นพาแนลที่ใช้จัดเรียงย่อหน้าข้อความ )
Ctrl + Shft + T Tab Ruler (เปิด/ปิด พาแนล ไม้บรรทัด)

Help
F1 Adobe Illustrator Help (เปิดหน้าเว็บ Adobe ขึ้นมาดูตัวช่วย)



Keys for selecting tools 
Artboard tool (กำหนดขนาดพื้นที่ และ เพิ่ม - ลบ อาร์ตบอร์ด) ตัวอย่าง  Shift + O
Selection tool (เลือกวัตถุทั้งชิ้น) V
Direct Selection tool (คลิก หรือแดรกเม้าส์ เลือกวัตถุเฉพาะบางส่วนภายในชิ้น) A
Magic Wand tool (ใช้คลิกเลือกวัตถุทุกชิ้นที่มีสีเหมือนกับสีอันต้นแบบ) Y
Lasso tool (ใช้แดรกเม้าส์อิสระ เพื่อเลือกวัตถุ เฉพาะบางส่วนภายในชิ้นมากกว่า 1 ชิ้น) Q
Pen tool (ปากกา ใช้วาดเส้น) ตัวอย่าง P
Blob Brush tool (ใช้ระบายสี วาดเพิ่มต่อจากวัตถุชิ้นเดิม) --->(คลิกที่วัตถุและ
วาดต่อจากของเก่า) Shift + B
Add Anchor Point tool (กดคีย์ และใช้คลิกบนเส้น Path เพื่อ "เพิ่ม" จุด) + ( หรือ "ช")
Delete Anchor Point tool (กดคีย์ และใช้คลิกที่จุดแองเคอร์เพื่อ "ลบ" ทิ้ง) - (หรือ "ข")
Convert Anchor Point tool (ใช้คลิกที่จุดแองเคอร์ เพื่อดึงแขนออกมาหรือใช้ดัดแขน
จุดแองเคอร์ทีละแขน) Shift + C
Type tool (ใช้พิมพ์ตัวอักษร Text ) T
Line Segment tool (ใช้วาดเส้นตรง) \ (หรือ "ฃ")
Rectangle tool (ใช้วาดสี่เหลี่ยม) M
Ellipse tool (ใช้วาดวงกลม หรือวงรี) L
Paintbrush tool (พู่กัน ใช้วาดเส้นแบบอิสระ เลือกหัวแปรงได้) B
Pencil tool (ดินสอ ใช้วาดเส้นแบบอิสระ) N
Rotate tool (ใช้หมุนวัดถุ) ตัวอย่าง R
Reflect tool (ใช้กลับด้านวัตถุ) O
Scale tool (ใช้ย่อ - ขยายวัตถุ) S
Warp tool (ใช้คลิกลากส่วนขอบบอกของวัตถุให้เพิ่มนูนขึ้น)  ตัวอย่าง Shift + R
Width Tool (ใช้ปรับความกว้าง-เล็กภายในเส้น ทำให้เส้น Stroke เรียวแหลม) ตัวอย่าง Shift+W


Free Transform tool (ใช้เพิ่ม - ลด ขนาดวัตถุ และดัดมุมอิสระ) 
(Tip: หากต้องการดัดแค่เฉพาะมุมใดมุมหนึ่ง ให้คลิกที่มุม และกดปุ่ม Ctrl ค้างไว้ 
จากนั้นก็ให้จับมุมนั้นย้ายไปยังทิศทางต่างๆ ค่ะ ) E
Shape Builder Tool (ใช้แยก - รวมวัตถุ คล้ายกับใช้พาแนล Pathfinder 
ให้คลิกเลือกวัตถุ 2 ชิ้น(ขึ้นไป) และกดคีย์ ถ้าคลิกแดรกเม้าส์ผ่านบนวัตถุทั้ง 2 
ชิ้น(ขึ้นไป)จะเป็นการรวม แต่ถ้าคลิกเลือกเฉพาะพื้นที่ใด พื้นที่หนึ่งจะเป็นการ
แยกวัตถุส่วนนั้นออกจากวัตถุส่วนอื่น) Shift+M
Perspective Grid Tool (ใช้โหมดการวางวัตถุตามแนว 3 มิติ) ตัวอย่าง Shift+P
Perspective Selection Tool (ใช้ลากวัตถุที่เลือก ไปวางบนระนาบ 3 มิติ) ตัวอย่าง Shift+V
Symbol Sprayer tool (สไปร์พ่น Symbol วิธีใช้ให้คลิกเลือก Symbol 
ในพาแนล Symbol ก่อน แล้วค่อยกดปุ่มนี้ครับ) Shift + S
Column Graph tool (ใช้สร้างกราฟแสดงผล) ตัวอย่าง J
Mesh tool (ใช้สร้างตาข่ายไล่น้ำหนักสี) ตัวอย่าง U
Gradient tool (ใช้ไล่เฉดสีพื้นวัตถุ) ตัวอย่าง G
Eyedropper tool  (ใช้ดูดสีจากต้นแบบ รวมทั้งสามารถดูดคุณลักษณะของText ตัวต้นแบบมาได้ด้วย)  I
Blend tool  (ใช้สร้างความต่อเนื่องระหว่างวัตถุ 2 ชิ้นขึ้นไป) ตัวอย่าง W
Live Paint Bucket tool (ใช้เทสีลงในพื้นที่ว่างภายในวัตถุ  ช่องว่างดังกล่าว
จะต้องเป็นแบบปลายเปิด) K
Live Paint Selection tool (ใช้เลือกพื้นที่ที่จะเทสี เลือกได้ทั้งพื้นสี พื้นที่ว่าง และส่วนที่
เป็นขอบเส้น) Shift + L
Slice tool (ใช้แบ่งภาพออกเป็นส่วนๆ(ตอนบันทึก) ใช้กับงานออกแบบหน้าเว็บ)  Shift + K
Eraser tool (ใช้ลบวัตถุส่วนที่ไม่ต้องการ ใช้ได้เฉพาะวัตถุที่เป็น เวคเตอร์แบบเดียวกันใช้กับภาพบิทแมทไม่ได้) --->(คลิกเลือกวัตถุก่อนแล้วค่อยกดใช้่)  Shift + E
Scissors tool (ใช้ตัดวัตถุออกจากกกัน ใช้ได้เฉพาะวัตถุที่เป็น เวคเตอร์แบบเดียวกัน ใช้กับภาพบิทแมทไม่ได้) ---> (คลิกเลือกวัตถุก่อนแล้วค่อยกดใช้่)  C

Hand tool (ใช้จับมุมมองเคลื่อนย้าย)  H
Zoom tool  (ใช้ย่อ - ขยายมุมมองหน้าจอ)  Z

แถมให้ค่ะ เป็นคีย์ลัดเกี่ยวกับการกำหนดมุมมอง
กดปุ่ม F ซ้ำๆ ย่อ - ขยาย มุมมองหน้าจอโปรแกรม
กดปุ่ม Esc กลับไปที่หน้าจอโปรแกรม
กดปุ่ม spacebar ค้างไว้ และ คลิกเม้าส์ซ้าย(แดรกเม้าส์) เป็นการ จับย้ายมุมมองตามต้องการ
กดปุ่ม "Alt" ขณะใช้เครื่องมือ Blob Brush tool จะทำให้เส้นที่วาดโค้งมนมากขึ้น
กดปุ่ม "X" จะเป็นการสลับการทำงานระหว่างพื้นและเส้น
เล่นเอาเหนื่อยคือพอมันเป็นเวอร์ชั่นใหม่ๆ คีย์ลัดบางตัวมันก็จะเปลี่ยนไป เลยต้องเปิดโปรแกรมเช็คดูทุกตัวเพื่อความชัวร์

ดูๆไป ก็ยังมีอีกหลายคำสั่งที่ยังไม่ได้ทำเป็นบทความสอนวิธีการใช้งาน ไว้ว่างๆ (ถ้าว่าง)ข้าพเจ้าจะทยอยทำให้นะค่ะ  เพราะคำสั่งบางตัวจะกดใช้แบบทั่วไปไม่ได้ ต้องเงื่อนไขถูกต้องเท่านั้น โปรแกรมถึงจะยอมทำให้

ขอขอบคุณเว็บ http://www.thaigraph.com/thread-2329-1-1.html




วันพุธที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 7


อธิบายการทำคร่าวๆในโปรแกรม Adobe Flash Professional CS3 และได้จดวิธีการทำงานไว้ในสมุดจดบันทึก

อาจารย์ได้แนะนำเว็บไซต์ สำหรับในการหา Soud eFfect เสียงต่างๆ ในการทำ Animation เพื่อแนวทางในการหาเสียงมาประกบอเนื้อเรื่องให้สมัครสมาชิกเพื่อดาวห์โหลด ไฟลืเสียง https://soundcloud.com/


แนะนำการทำ animation ใน iPad

สอนการทำ  Animatic-StoryBoard

วันอังคารที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 6

สอบปฎิบัติและทฤษฏี 30 ข้อ 15 นาที 30ข้อ
          สอบปฏิบัติ Adobe Photoshop ให้นักศึกษาทำ Banner Present ขนาด 300x300 Pls
   ใส่ไว้ใน Gadget  ช่องที่ 3 ตั้งชื่อว่างานสอบทักษะ เวลาในการทำข้อสอบปฏิบัติ 30 นาที

การบ้าน         
โปรเจคงานเดี่ยวประกวดออกแบบ  Mascot ของงาน "มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2556"
ส่งวันที่ 8 พฤษภาคม 2556
   
เว็บไซต์ที่มา http://researchexpo.nrct.go.th/main.php?filename=index

วันพุธที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 5

-ให้นักศึกษาเข้าไปสมัครสมาชิกที่เว็บไซค์                  Truepoolpanya.com www.trueplookpanya.
com/new/index.php






-สมัครสมาชิกเพื่อเอาไว้saveไฟล์ต่างๆได้ Dropbox.com

วันอาทิตย์ที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2556

ค้นคว้าข่าว Animation


สาระการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับ Animation


ที่มาของข่าวสาร http://www.visionnw.com/3d-technology-techniques.html






ชื่อเรื่อง 3D TECHNOLOGY TECHNIQUES  เทคโนโลยี 3 มิติ (3D) 
ทำงานอย่างไร3D TECHNOLOGY TECHNIQUES
So, how 3D technology works? In order to understanding the basic 3D technology techniques, it is important to first understand how the human sight works. Human beings have two eyes which are about 3 inches apart from each other. This distance between the two eyes produce two slightly different images which are transmitted to the brain. The brain will then make a space in where distance and depth can be perceived. Read on to know about 3D technology techniques.
The working of 3d technology is such that in order to produce this same kind of space in your brain requires tricking your brain into seeing two different images from the same source. The real thing lies in knowing how it is done by the 3D technology. Well, it places two minutely different images over each other or in alternating succession. The human being should then be wearing a set of 3D glasses that will help in dissecting this image and transmit it to the correct eye.
In order to understand basic 3D technology techniques, we must also have an idea about the 3D glasses. At present, there are around two main kinds of 3D glasses technologies which are called as active and passive. The active glasses are the ones which have got electronics that are meant to change the display. While on the other hand, the passive glasses are the ones that don’t have any electronics and they employ a different way to dissect the images.
The active glasses required for the 3D technology techniques are also categorized into two main kinds which are called as liquid crystal shutter glasses and display glasses. Also, two of the presently used passive 3D glasses technologies are linearly polarized glasses and circularly polarized glasses. We hope the explanation above helps you understand how 3D technology works and the 3D technology techniques.

แปลข่าว

 เทคโนโลยี 3 มิติ (3D) ทำงานอย่างไร? เพื่อที่จะทำความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานของเทคโนโลยี 3 มิติ
 (3D) สิ่งสำคัญสิ่งแรกที่ควรรู้และเข้าใจ คือการทำงานของสายตามนุษย์
 มนุษย์มีดวงตาสองตาที่มีระยะห่างจากกันประมาณ 3 นิ้ว ระยะห่างระหว่างดวงตาทั้งสองข้างดังกล่าว
 จะผลิตภาพสองภาพที่แตกต่างกันเล็กน้อย หลังจากนั้นจะถูกส่งไปยังสมอง
 สมองก็จะสร้างพื้นที่ในการรับรู้ที่ระยะทางและความลึกของภาพนั้น เรื่องที่น่ารู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี 3 มิติ (3D) ดังนี้

การทำงานของเทคโนโลยี 3 มิติ (3D) จะผลิตภาพประเภทเดียวกันในพื้นที่ในสมองของคนเรา
 โดยการหลอกล่อให้สมองของคนเราให้เห็นภาพเป็นสองเห็นภาพที่แตกต่างจากแหล่งเดียวกัน
 สิ่งที่จริงตั้งอยู่ในรู้วิธีที่จะทำด้วยเทคโนโลยี 3 มิติ ภาพสามมิติวางสองภาพในตำแหนงที่เหลื่อมกันเพียงเสี้ยวนาที
มนุษย์ควรจะสวมแว่นตา 3 มิติที่จะช่วยในการตัดภาพนี้และส่งไปให้สายตาในลำดับที่ถูกต้อง

เพื่อให้เข้าใจถึงพื้นฐานของ เทคโนโลยี 3 มิติ (3D) เราควรมีความเข้าใจหลักการทำงานของแว่นสามมิติ
ด้วย ในปัจจุบัน มีการใช้แว่นตาสำหรับเทคโนโลยี 3 มิติ (3D) อยู่ 2 ชนิด มีชื่อเรียกว่าแบบ Active และ
passiveแว่นตาแบบ Active จะมีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่คอยเปลี่ยนการแสดงผล ในขณะเดียวกัน แว่นตาแบบ
Passive จะไม่ได้มีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ใด ๆ และจะใช้วิธีที่แตกต่างในการตัดภาพ

แว่นตาแบบ Active ที่นำมาใช้กับเทคนิค 3D เทคโนโลยียังมีการแบ่งประเภทออกเป็นสองชนิดหลัก
ที่เรียกว่าเป็นแว่นตาชัตเตอร์คริสตัลเหลว และแว่นตาจอแสดงผล นอกจากนี้ยังมีการใช้งานแว่นแบบ Passive
ซึ่งแบ่งออกเป็นสองแบบ อันได้แก่แว่นตาโพลาไรซ์แนวตรงและ แว่นตาโพลาไรซ์แนวโค้ง

เราหวังว่าคำอธิบายข้างต้นจะช่วยให้ทุกคนเข้าใจวิธีการทำงานของเทคโนโลยี 3D
ว่าทำงานอย่างไรและเข้าใจถึงเทคนิคต่างๆ ของเทคโนโลยี 3 มิติ (3D)


คำศัพท์

TECHNIQUES เทคนิค
3D glasses technologies เทคโนโลยีแว่น 3 มิติ
Basic พื้นฐาน
perceived การรับรู้
important สิ่งสำคัญ
different แตกต่าง
produce ผลิต
minutely เสี่ยววินาที

วันพฤหัสบดีที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2556

วันพฤหัสบดีที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 2

- สอนการตั้งค่า www.blogger.com










- แนะนำเว็บไซต์ต่างๆ
Cloud Computing Tools การประยุกต์ใช้งานเครื่องมือประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ สนับสนุนการจัดการงานและการเรียนรู้
http://cloudcomputingtools.
blogspot.com/



https://chrome.google.com
/webstore/categ



 การบ้าน 
       เตรียมวางแผนจัดทำ สื่อการเรียน การสอน หรือนิทาน หรือเรื่องสั้น

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 1


การเรียนการสอนภาคฤดูร้อน 3/2555 สัปดาห์ที่ 1 วันที่ 20 และ 21 มีนาคม 2556


การเรียนการสอนภาคฤดูร้อน 3/2555 สัปดาห์ที่ 1 วันที่ 20 และ 21 มีนาคม 2556
อาจารย์ต้องไปราชการที่ประเทศจีนเป็นเวลา 1 สัปดาห์ ดังนั้นให้นักศึกษาที่เรียนกับอาจารย์ ทำกิจกรรมการเรียนรู้ออนไลน์ ดังนี้คือ
1.เข้าทำแบบสำรวจ ตามลิงค์นี้ > 
ARTI3319:แบบสำรวจศักยภาพและความพึงพอใจของผู้เรียน ก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการออกแบบภาพเคลื่อนไหว ตามเกณฑ์มาตรฐานผลการเรียนรู้หลักสูตรสาขาวิชาศิลปกรรม มจษ. ภาคเรียนที่3/2555

2.สร้างเว็บบล็อกของ GoogleBlogger  ใหม่ โดยตั้งชื่อ arti3322-ชื่อจริงอย่างให้ซ้ำเดิม
3.กรอกที่อยู่อีเมลและข้อมูลเว็บบล็อก จากลิงค์นี้